ขอแสดงความยินดีกับผู้ที่จะเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ในวันที่ 14 ธันวาคม 2559 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีการศึกษา 2558-2559

วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ประวัติศาสตร์สากล : ความขัดแย้งระหว่างประเทศ (สงครามโลกครั้งที่ 1)

             
                    สวัสดีครับ 😊 ผู้อ่านทุกๆคน หลังจากที่มาร์คได้เปิดบล็อกไปก็ไม่ได้อัปเดตอะไรเลย 😥 วันนี้ได้ฤกษ์งามยามดีมาร์คก็จะนำสาระความรู้ต่างๆเกี่ยวกับวิชาสังคมศึกษา (มั้ง?) มาเล่าสู่ทุกคนกันครับเป็นเรื่องเกี่ยวกับความขัดแย้งที่นำไปสู่การเกิดสงครามที่แพร่กระจายไปยังประเทศต่างและเป็นต้นเหตุของมหาสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่มนุษยชาติได้พบเจอ นั่นก็คือ สงครามโลกครั้งที่ 1(World War I)


ระยะการเกิดสงคราม - ยุติ (สงบศึก)
28 กรกฎาคม 1914 - 11 พฤศจิกายน 1918


คู่ขัดแย้ง

ฝ่ายสัมพันธมิตร 
สหราชอณาจักร ฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัซเซีย

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง
เยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี

ผลลัพธ์
-ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นผู้ชนะ
-จักรวรรดิต่างๆสิ้นสุดลง
-การก่อตั้งสันนิบาตแห่งชาติ

สาเหตุ

- การขยายอำนาจของประเทศมหาอำนาจ (จักรวรรดิ)
- การรอบปลงพระชนม์รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตเรีย-ฮังการี
- ความขัดแย้งของมหาอำนาจส่งผลไปยังประเทศอาณานิคม 


                สงครามโลกครั้งที่ 1 ก็นับเป็นอีกความขัดแย้งครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่สงครามนโปเลียน มีทหารเสียชีวิตมากกว่า 9 ล้านนาย และยังทำให้ประเทศมหาอำนาจต่างๆ ในยุโรปนั้นหมดอำนาจลง 
สงครามเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 28 กรกฏาคม 1914 


โดยฮังการีเปิดฉากรุกรานเซอร์เบีย 

 (ฮังการี)→เซอร์เบีย


ตามด้วย การรุกราน เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก และฝรั่งเศส โดย เยอรมัน 


(เยอรมัน)→เบลเยียม→ลักเซมเบิร์ก→ฝรั่งเศส


และ


 (รัสเซีย)→เยอรมัน

*หมายเหตุ  (→) แทนการรุกราน / () แทนผู้รุกราน











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น